รายงานการพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน จังหวัดสตูล

รายงานการพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน จังหวัดสตูล
ชื่อผู้รายงาน : นางปราณี ชำนิธุระการ ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
โรงเรียนบ้านท่าหิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล
ปีที่วิจัย : 2557
——————————————————————————————————————–
รายงานการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน จังหวัดสตูล ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน จังหวัดสตูล และ3) เพื่อวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนบ้านท่าหิน จังหวัดสตูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน จังหวัดสตูล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 8 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1)แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน จังหวัดสตูล จำนวน 1 เล่ม มี 5 เล่ม 2) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ รายวิชา ท 15101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน จังหวัดสตูล จำนวน 15 แผน ใช้เวลา 18 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน จังหวัดสตูล จำนวน 1 ฉบับ 40 ข้อ 2) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนบ้านท่าหิน จังหวัดสตูล และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ค่าร้อยละ( % ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D. ) และการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ (t – test แบบ Dependent)
ผลการวิจัยพบว่า
1. ประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน จังหวัดสตูล มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 81.25/82.19
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน จังหวัดสตูล สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนบ้านท่าหิน จังหวัดสตูล อยู่ในระดับมาก

 

 

บทคัดย่อ

ชื่อเรื่อง รายงานการพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย    ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล

ชื่อผู้รายงาน นางปราณี  ชำนิธุระการ  ตำแหน่งครู  วิทยฐานะครูชำนาญการ

โรงเรียนบ้านท่าหิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล

ปีที่วิจัย :     2557

——————————————————————————————————————–

รายงานการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการอ่าน

จับใจความ  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัด

สตูล ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน จังหวัดสตูล และ3) เพื่อวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 8 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย  1)แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล จำนวน 1 เล่ม  มี 5  เล่ม  2) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ รายวิชา ท 15101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล  จำนวน 15  แผน ใช้เวลา 18  ชั่วโมง   เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระ  การเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล  จำนวน 1 ฉบับ 40  ข้อ 2) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล   และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่   ค่าเฉลี่ย () ค่าร้อยละ( % )  ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D. และการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ  (t – test แบบ Dependent)

ผลการวิจัยพบว่า

1. ประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 81.25/82.19

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระ    การเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล   อยู่ในระดับมาก

ชื่อเรื่อง          :   รายงานการพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย    ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล

ชื่อผู้รายงาน :    นางปราณี  ชำนิธุระการ  ตำแหน่งครู  วิทยฐานะครูชำนาญการ

โรงเรียนบ้านท่าหิน  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล

ปีที่วิจัย        :     2557

——————————————————————————————————————–

รายงานการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการอ่าน

จับใจความ  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัด

สตูล ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80  2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  โรงเรียนบ้านท่าหิน จังหวัดสตูล และ3) เพื่อวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  5  ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2557        จำนวน  8 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย  1)แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล จำนวน  1 เล่ม  มี  5  เล่ม  2) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ  รายวิชา ท 15101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล  จำนวน 15  แผน ใช้เวลา  18  ชั่วโมง   เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านจับใจความ  กลุ่มสาระ  การเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล  จำนวน 1 ฉบับ  40  ข้อ  2) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  5  ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล   และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่   ค่าเฉลี่ย () ค่าร้อยละ( % )  ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D. )  และการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ  (t – test แบบ Dependent)

ผลการวิจัยพบว่า

  1. ประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล  มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 81.25/82.19

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระ    การเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล  สูงกว่าก่อนเรียน  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

3.    ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  5  ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  โรงเรียนบ้านท่าหิน  จังหวัดสตูล   อยู่ในระดับมาก

ผู้ชม :1733